วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

เรื่องคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด


รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ต่อไปนี้เป็น รายชื่อคำในภาษาไทยที่มักเขียนผิด เรียงลำดับตามตัวอักษรของ คำที่เขียนถูก ตามที่ปรากฏในพจนานุกรมภาษาไทยหรือตามประกาศของหน่วยงานราชการไทย
หมายเหตุ: การเขียนสะกดคำในนี้เป็นกรณีทั่วไป แต่ในกรณีเฉพาะ เช่น เป็นวิสามานยนาม อาทิ เป็นชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ หรือในทางร้อยกรอง สามารถเขียนสะกดคำแตกต่างได้

เนื้อหา:บนสุด -                                             

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ก็ก้อ
กงเกวียนกำเกวียนกงกำกงเกวียนกง และ กำ เป็นส่วนประกอบของล้อเกวียน
กงสุลกงศุล"กงสุล" มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสว่า "consul"
กฎกฏกฎ ทุกอย่าง ใช้ ฎ ชฎา ยกเว้น ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ส่วน กรกฎ/กรกฏ สะกดได้ทั้งสองแบบ
กฐินกฐิณ
กบฏกบฎ, กบถ- "กบฏ" ใช้ ฏ ปฏัก
- ในสมัยโบราณ เคยสะกดด้วย ฎ ชฎา (ดู พจนานุกรมกฎหมาย ของ ขุนสมาหารหิตะคดี)
- ถ้าออกเสียง "ขะ-บด" เขียน "ขบถ"
กบาล, กระบาลกะบาล, -บานใช้เรียกศีรษะ แต่ไม่สุภาพ
กรรมกรกรรมกรณ์- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา ฯลฯ มักสลับกัน
กรรมกรณ์กรรมกร- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา ฯลฯ มักสลับกัน
กระเพาะกะเพาะ, กะเพราะ, กระเพราะระวังสับสนกับ กะเพรา
กริยากิริยา"กริยา" (กฺริ-) คือ คำชนิดหนึ่ง บอกอาการ การกระทำ เช่น เดิน วิ่ง เขียน เหล่านี้ คือ คำกริยา
กรีฑากรีธา, กรีทากีฬาอย่างหนึ่ง มักสลับกัน
กรีธากรีฑาเคลื่อน ยก เดินเป็นหมู่หรือเป็นกระบวน เช่น กรีธาทัพ มักสลับกัน
กลยุทธ์กลยุทธ, กลยุทธิ, กลยุทธิ์
กลางคันกลางครัน
กลิ่นอายกลิ่นไอ
กสิณกสิน
กเฬวรากกเลวราก
กอปรกอป, กอปร์อ่านว่า "กอบ"
กอล์ฟกลอฟ, กอลฟ์, ก็อลฟ์, ก็อล์ฟ, ก๊อลฟ์, ก๊อล์ฟ
กะทันหันกระทันหัน
กะเทยกระเทย
กะเทาะกระเทาะ
กะบังลมกระบังลม
กะปิกระปิ
กะพงกระพง
กะพริบกระพริบ
กะพรุนกระพรุน
กะเพรากะเพา, กระเพา, กระเพราระวังสับสนกับ กระเพาะ
กะล่อนกระล่อน
กะละมังกาละมัง
กะลาสีกลาสี
กะละแมกาละแม, กาลาแม, กาละแมร์
กะหรี่กระหรี่
กะเหรี่ยงกระเหรี่ยง
กะหล่ำกระหล่ำ
กะโหลกกระโหลกจำไว้ว่า กะโหลก กะลา
กังวานกังวาล
กันทรลักษ์กันทรลักษณ์, กัณ-
กันแสงกรรแสง, กรรณแสงทรงกันแสง, ทรงพระกันแสง = ร้องไห้; กรรแสง แผลงมาจาก กระแสง = ส่งเสียงร้อง, ผ้าสไบ
กาลเทศะกาละเทศะ
กาลเวลากาฬเวลากาล หมายถึง เวลา , กาฬ แปลว่า รอยดำ หรือ แดง
กาฬสินธุ์กาฬสินธ์, กาล-
กำเหน็จกำเน็จ, กำเหน็ด
กิตติมศักดิ์กิติมศักดิ์, เกียรติมศักดิ์
กินรีกินนรีแต่ "กิน-นอน" เขียน 'กินนร'
กิริยากริยา"กิริยา" คือ อาการ การกระทำ เช่น ปฏิกิริยา
กุฎี, กุฏิกุฎ, กุฎิ"กุฏิ" อ่านว่า "กุด" หรือ "กุด-ติ", ถ้าต้องการอ่าน "กุ-ดี" ต้องเขียน "กุฎี" (ใช้คำไหนก็ได้)
กูกรูคำสรรพนามบุรุษที่หนึ่ง
เกมเกมส์ในภาษาไทยสำหรับกรณีทั่วไปจะไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบคำใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าสื่อความหมายถึงเอกพจน์หรือพหูพจน์
เว้นแต่เป็นการทับศัพท์วิสามานยนาม เช่น "SEA Games" ว่า ซีเกมส์
เกล็ดเลือดเกร็ดเลือด
เกษียณเกษียน, เกษียรเกษียณ = สิ้นไป เช่นเกษียณอายุ; เกษียน = เขียน; เกษียร = น้ำนม
เกสรเกษรส่วนในของดอกไม้
เกาต์เก๊าท์
เกียรติเกียตร, เกียรต, เกียรต์, เกียรติ์อ่านว่า "เกียด", ถ้าเขียน "เกียรติ์" อ่านว่า "เกียน" เช่น รามเกียรติ์
แก๊งแก๊งค์, แก๊งก์"แก๊ง" มาจากภาษาอังกฤษว่า "gang" ในภาษาไทยเป็นภาษาปาก หมายความว่า "กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ในความหมายไม่ดี) เช่น แก๊งโจร แก๊งอันธพาล"
แกร็นแกน, แกรนไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และพืช), เช่น แคระแกร็น

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ขบถขบฏดู กบฏ
ขโมยโขมย
ขวานขวาญ
ขะมักเขม้นขมักเขม้น
ขัณฑสกรขัณท-, ขันท-, ขันฑ-
ขาดดุลขาดดุลย์ดู "ดุล", "สมดุล"
ข้าวเหนียวมูนข้าวเหนียวมูลมูน = เอากะทิเคล้ากับข้าวเหนียวเพื่อให้มัน
ขี้เกียจขี้เกลียด, ขี้เกียด
ขึ้นฉ่ายคึ่น-, -ช่าย, -ไฉ่, -ไช่
เขยกขเยก, ขะเหยก
ไข่มุกไข่มุกข์, ไข่มุกด์, ไข่มุข

ปัจจุบันไม่มีคำที่ใช้ "ฃ" โดยหันไปใช้ "ข" แทน เช่น "ฃวด" ก็ใช้เป็น "ขวด" เป็นต้น

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
คทาคฑา, คธา
คนฅนฅ ไม่เคยใช้เขียนคำว่า ฅน
ครรไลครรลัย
ครองแครงคลองแคลง
ครองราชย์ครองราชคำว่า "ราชย์" หมายถึง ความเป็นราชา, "ครองราชย์" จึงหมายถึง ครองความเป็นราชา
ทั้งนี้ คำว่า "ครองราชสมบัติ" หมายความว่า ครองสมบัติของพระราชา ก็คือ ครองความเป็นราชา (มิใช่ "ครองราชยสมบัติ" อันแปลว่า ครองสมบัติแห่งความเป็นพระราชา)
คริสตกาลคริสต์กาลใช้ตามโบราณ
คริสตจักรคริสต์จักรใช้ตามโบราณ
คริสต์ทศวรรษคริสตทศวรรษไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริสต์ศตวรรษคริสตศตวรรษไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริสต์ศักราชคริสตศักราช
คริสต์ศาสนาคริสตศาสนาไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริสต์ศาสนิกชนคริสตศาสนิกชน
คริสต์มาสคริสตมาส
ครุฑครุท
ครุภัณฑ์คุรุภัณฑ์
ครุศาสตร์คุรุศาสตร์
คฤหาสน์คฤหาสถ์คฤห + อาสน
คลิกคลิ้ก, คลิ๊ก
คลินิกคลีนิก, คลินิค
ค้อนฆ้อน
คะค๊ะ
คะนองคนอง
คัดสรรคัดสรรค์
คาร์ปคาร์ฟ, คราฟ, คาร์พ, คราพชื่อปลา ทับศัพท์มาจาก carp
คารวะเคารวะ
คำนวณคำนวน
คำสดุดีคำดุษฎี
คุกกี้คุ้กกี้, คุ๊กกี้ออกเสียง คุก โดยไม่ต้องใส่วรรณยุกต์
คุรุศึกษาครุศึกษา
เค้กเค็ก, เค๊ก
เครียดเคลียด
เครื่องรางเครื่องลาง
แค็ตตาล็อกแคตตาล็อก, แคตาล็อก
แคบหมูแค็บ-, แคป-, แค็ป-
แคระแกร็นแคะแกน, แคะแกรน, แคระแกน, แคระแกรนไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และพืช)
แครงแคลงแครง เป็นชื่อหอยทะเลและชื่อเห็ดชนิดหนึ่ง; แคลง แปลว่า กินแหนง, สงสัย
โค่งโข่งโข่ง = เปิ่น ไม่เข้าท่า / โค่ง = โตกว่าเพื่อน
โคตรโครต, โคต, โคด
โครงการโครงการณ์, โคลงการการ คือ งาน
โควตาโควต้าออกเสียง คว ควบกล้ำ และออกเสียง ต้า โดยไม่ต้องใส่วรรณยุกต์
คอลัมน์คอลัมม์

ปัจจุบันไม่มีคำที่ใช้ "ฅ" โดยหันไปใช้ "ค" แทน เช่น "ฅอ" ก็ใช้เป็น "คอ" เป็นต้น

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฆราวาสฆรวาส, ฆารวาส, -วาท
ฆาตกรฆาตรกรฆาต แปลว่า ฆ่า, ทำลาย หรือ ตี
ฆาตกรรมฆาตรกรรมฆาต แปลว่า ฆ่า, ทำลาย หรือ ตี
เฆี่ยนเคี่ยน- "เฆี่ยน" = ตีด้วยหวายหรือไม้เรียวเป็นต้นเป็นการลงโทษ เป็นต้น
- "เคี่ยน" ไม่มีความหมาย

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
งบดุลงบดุลย์ไม่ใช่ ดุลย์
งูสวัดงูสวัส, งูสวัสดิ์

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
จงกรมจงกลมการฝึกสมาธิ
จระเข้จรเข้เครื่องดนตรีไทย เรียก จะเข้; ชื่อสถานที่บางแห่งยังสะกดว่า จรเข้ อยู่เช่น คลองจรเข้บัว ตำบลจรเข้สามพัน ตำบลจรเข้ร้อง
จลนศาสตร์จลศาสตร์
จลาจลจราจลมาจากคำ จล + อจล
จะงอยจงอย
จะจะจะ ๆคำมูลสองพยางค์
จะละเม็ดจาละเม็ด, จาระเม็ด, จรเม็ด, จระเม็ด
จักจั่นจั๊กจั่น
จักรจักร์
จักรพรรดิจักรพรรดิ์อ่านว่า "จัก-กฺระ-พัด"
จักรวรรดิจักรวรรดิ์อ่านว่า "จัก-กฺระ-หวัด"
จักสานจักรสานเครื่องใช้ที่ทำด้วยมือ
จาระไนจารไน
จาระบีจารบี
จำนงจำนงค์แผลงจาก "จง"
จินตนาการจินตะนาการ, จินตรนาการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยปัจจุบันใช้แบบมีทัณฑฆาตตามที่ได้รับพระราชทาน (ขัดหลักคำสมาส)
เจ๊งเจ็ง, เจ้ง, เจ๋งเจ๊ง (ไม้ตรี) = ล้มเลิกกิจการ หมดสภาพ ใช้การไม่ได้
เจ๋งเจ๊งเจ๋ง (ไม้จัตวา) = ดีเลิศ ยอดเยี่ยม
เจตจำนงเจตจำนงค์จำนง แผลงจาก จง
เจตนารมณ์เจตนารมย์
เจียระไนเจียรไน
โจทก์โจทย์โจทก์ หมายถึง ผู้ฟ้องร้องในศาลกล่าวหาจำเลย โจทย์ หมายถึง ปัญหา เช่น โจทย์เลข
ใจจัย

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฉบับฉะบับ
ฉะนั้นฉนั้น
ฉะนี้ฉนี้
ฉันฉันท์เสมือน เช่น ฉันญาติ ฉันมิตร; รับประทาน ใช้แก่พระสงฆ์
ฉันท์ฉันความพอใจ หรือร้อยกรองประเภทหนึ่งมีบังคับครุลหุ
เฉพาะฉะเพาะ, ฉเพาะ
ไฉนฉไน

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ชมพูชมภู
ชมพู่ชมภู่
ชะนีชนี
ชะมดชมด
ชะลอชลอ
ชัชวาลชัชวาลย์
ชานชาลาชานชะลา"ชาลา" แปลว่า ชาน "ชานชาลา" เป็นคำซ้อน (ทำนองเดียวกับ กักขัง, ใหญ่โต ฯลฯ)
ชีพิตักษัยชีพตักษัย
ชีวประวัติชีวะประวัติสมาสแล้วลบวิสรรชนีย์
ไช้เท้าไชเท้า, ใชเท้าผักกาดหัว

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ซวดเซทรวดเซ
ซ่องเสพส้องเสพ
ซาบซ่านทราบซ่าน, -ส้าน
ซาบซึ้งทราบซึ้ง
ซาลาเปาซาละเปา, ซะละเปา
ซาวเสียงซาวด์เสียง,
ซาวน์เสียง,
ซาวนด์เสียง
แปลว่า หยั่งเสียงเพื่อฟังความคิดเห็น และไม่ได้มาจากคำภาษาอังกฤษว่า "sound"
ซีเมนต์ซีเม็นต์, ซีเมนท์, ซีเม็นท์, ซีเม็น
ซุ่มสุ่ม, สุ้มซุ่ม = ซ่อน, แอบซ่อนคอยทีอยู่ / สุ่ม = เครื่องมือจับปลา, เครื่องสานครอบขังไก่, ไม่เฉพาะเจาะจง
ซุ้มสุ้มสิ่งที่เป็นพุ่มมีทางลอดได้, ส่วนบนของประตูหน้าต่าง
เซ็นชื่อเซ็นต์ชื่อจากคำอังกฤษ sign, ไม่มี ต การันต์
เซนติเมตรเซ็นติเมตร
ไซ้ไซร้ไซ้ = กิริยาที่นกหรือเป็ดเอาปากย้ำ ๆ ขนหรือหาอาหาร ฯลฯ, เช่น เป็ดไซ้ขน
ไซร้ = คำสำหรับเน้นความหมายของคำหน้า, เช่น ลูกหนี้ยังไม่ชำระหนี้ไซร้ ลูกหนี้ได้ชื่อว่าผิดนัด
โซมโทรมโซม = เปียกทั่ว, เช่น เหงื่อโซมตัว
โทรม = เสื่อมสภาพ, ระดมฟันแทง, ร่วมกันข่มขืนกระทำชำเราหญิง ฯลฯ

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฌานฌาณ
ฌาปนกิจฌาปณกิจ
เฌอกะเฌอ

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ญวนญวณ
ญัตติญัติ
ญาณญาน
ญาติญาต

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฎีกาฏีกาใช้ ฎ ชฎา ตัวอักษรที่คล้ายกันทำให้เกิดความสับสน

ปัจจุบันไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วย "ฏ"

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฐานฐาณ

ไม่มีคำที่เขียนผิด

ไม่มีคำที่เขียนผิด สำหรับ "เฒ่าแก่" และ "เถ้าแก่" ใช้ได้ทั้งสองคำ

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ณ.อ่านว่า "นะ" มีความหมายว่า ที่
ในการเขียน ไม่มีจุดข้างหลังเพราะมิใช่คำย่อ แต่ "ณ" แผลงรูปมาจาก "ใน" และมักเว้นวรรคหน้าวรรคหลัง "ณ" ด้วย เช่น "อยู่ ณ ที่นี้"

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ดอกจันดอกจันท์, ดอกจันทน์, ดอกจันทร์เครื่องหมาย *, ดอกของต้นจัน
ดอกจันทน์ดอกจัน, ดอกจันท์, ดอกจันทร์รกหุ้มเมล็ดจันทน์เทศ
ดอกไม้จันทน์ดอกไม้จัน, ดอกไม้จันท์, ดอกไม้จันทร์ดอกไม้ประดิษฐ์สำหรับงานเผาศพ
ดัตช์ดัชต์, ดัชท์, ดัทช์
ดาดตะกั่วดาษตะกั่ว
ดาดฟ้าดาษฟ้า
ดาษดื่นดาดดื่น
ดำรงดำรงค์
ดำริดำหริ, ดำริห์อ่านว่า "ดำ-หริ", โบราณเขียน "ดำริห์"
ดุลดุลย์"ดุล" เป็นคำนามแปลว่า ความเท่ากัน หรือความเสมอกัน, ส่วน "ดุลย์" เป็นคำวิเศษณ์แปลว่า เท่ากัน หรือเสมอกัน
ดุษณีโดยดุษฎีดุษณี หมายถึง นิ่ง
ดุษฎี หมายถึง ยินดี
มักใช้สลับกัน เช่น ในถ้อยคำว่า "ยอมรับโดยดุษณี"
เดินเหินเดินเหิรโบราณเขียน "เหิร"
แดกแดรก, แด่ก, แดร่ก, แด๊กเป็นภาษาปาก หมายถึง กิน หรือ พูดกระทบให้โกรธ ฯลฯ

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ตรรกศาสตร์ตรรกะศาสตร์
ตรรกะ, ตรรก-ตรรกกะ
ตราสังตราสังข์
ตรึงตราตรึงตาหมายถึง ติดแน่น
ตะกร้าตระกร้า
ตะรางตารางที่คุมขัง
ตานขโมยตาลขโมย
ตารางตะรางช่องสี่เหลี่ยม
ตำรับตำหรับ
ใต้ไต้ใช้แสดงตำแหน่ง เช่น ใต้โต๊ะ ภาคใต้ แสงใต้ (ออโรรา)
ใต้เท้าไต้เท้าเปรียบเหมือนเราอยู่ข้างใต้ เท้าของผู้มีอำนาจบารมี ทำนองเดียวกับ ใต้ฝ่าพระบาท ฯลฯ
ไต้ใต้หมายถึงคบเพลิง เช่น ขี้ไต้ จุดไต้ตำตอ น้ำตาแสงไต้ หรือใช้ทับศัพท์ภาษาอื่น
ไต้ก๋งใต้ก๋งนายท้ายเรือสำเภาหรือเรือประมง ทับศัพท์จากภาษาจีน
ไต้ฝุ่นใต้ฝุ่นทับศัพท์มาจาก typhoon
ไตรยางศ์ไตรยางค์
ไต้หวันใต้หวันทับศัพท์จากภาษาจีน

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ถนนลาดยางถนนราดยางลาด หมายถึง ปู
ถ่วงดุลถ่วงดุลย์
ถั่วพูถั่วพลูถั่วที่ด้านข้างมีรอยเป็นพู
เถาเถาว์
ไถ่ตัวถ่ายตัวเรียกค่าไถ่ ก็ใช้คำนี้

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ทโมนทะโมน, โทมน
ทยอยทะยอย
ทแยงทะแยง, แทยง
ทรงกลดทรงกรด
ทรมาทรกรรมทรมานทรกรรม
ทรราชทรราชย์- ทรราช = ผู้ปกครองบ้านเมืองที่ใช้อำนาจสร้างความเดือดร้อน, ตามรากศัพท์หมายถึง ราชาชั่ว แต่สามารถใช้ได้กับทั้งที่เป็นราชาและไม่เป็นราชา
- ทรราชย์ = รูปแบบ ระบบ หรือลัทธิการปกครองแบบทรราช
ทระนง, ทะนงทรนง, ทนง
ทลายทะลายพังทลาย ถล่มทลาย
ทศกัณฐ์ทศกัณฑ์กัณฑ์ แปลว่า คำเทศน์ตอนหนึ่ง; กัณฐ์ แปลว่า คอ
ทอนซิลทอมซิน
ทะนุถนอมทนุถนอม
ทะนุบำรุง, ทำนุบำรุงทนุบำรุง
ทะลายทลายช่อผลของมะพร้าว
ทะเลสาบทะเลสาป
ทัณฑ์ฑัณฑ์
ทายาดทายาททายาด = ยิ่งยวด เช่น ทนทายาด
ทายาท = ผู้สืบสกุล
ทายาททายาด, ทาญาติ
ทารุณทารุน
ทีฆายุโกฑีฆายุโกทีฆายุ หมายถึง อายุยืนยาว
ทุกรกิริยาทุกขกิริยา, ทุกขรกิริยาหมายถึง กิจที่ทำได้ยาก
ทุคติทุกข์คติ
ทุพพลภาพทุพลภาพ
ทุพภิกขภัยทุภิกขภัยทุส + ภิกขภัย, เปลี่ยน ส เป็น พ ตามหลักการสมาส
ทุศีลทุจศีล
ทูตฑูตทูตทุกอย่าง ใช้ ท ทหาร
ทูนหัวทูลหัวพ่อทูนหัว แม่ทูนหัว
ทูลกระหม่อมทูนกระหม่อม
เท่เท่ห์
เทพนมเทพพนมเทว + นม ไม่ใช่ เทพ + พนม
เทเวศร์เทเวศ, เทเวศน์เทว + อิศร
เทโวโรหณะเทโวโรหนะใช้ ณ เณร มาจาก เทว + โอโรหณ
เทอญเทิญ
เทอมเทิม, เทิร์ม
เท้าความท้าวความเขียนเหมือน "เท้า"
เทิดเทอด
เทิดทูนเทิดทูล
แท็กซี่แท๊กซี่
แทรกแซงแซกแซง
โทรทรรศน์โทรทัศน์กล้องส่องทางไกล
โทรทัศน์โทรทรรศน์เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง
โทรมโซมโทรม = เสื่อมสภาพ, ระดมฟันแทง, ร่วมกันข่มขืนกระทำชำเราหญิง ฯลฯ
โซม = เปียกทั่ว, เช่น เหงื่อโซมตัว
โทรศัพท์โทรศัพย์

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ธนบัตรธนาบัตร
ธนาณัติธนานัติ, ธนาณัต
ธรรมเนียมทำเนียมในหนังสือเก่า ๆ เขียน "ทำเนียม" ก็มี, แต่ปัจจุบัน ใช้ "ธรรมเนียม" (มาจาก ธรรม + นิยม)
ธัญพืชธัญญพืช
ธำมรงค์ธำมรง, ทำมะรงค์แปลว่า "แหวน"
ธำรงธำรงค์
ธุรกิจธุระกิจคำสมาส หรือใช้ กิจธุระ

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
นพปฎลนพปดลแปลว่า เก้าชั้น
นภดลนพดลเว้นแต่ "นพดล" ที่เป็นชื่อเฉพาะ
นวัตกรรมนวตกรรม
นอตน็อต, น๊อตทับศัพท์จาก nut ในภาษาอังกฤษที่หมายถึงอุปกรณ์ช่าง
นะน๊ะออกเสียงวรรณยุกต์ตรี โดยไม่ปรากฏรูป
นะคะนะค่ะ, นะค๊ะคะ เป็นเสียงตรี ไม่ต้องใช้ไม้ตรี ในขณะที่ ค่ะ เป็นเสียงโท
นันทนาการสันทนาการ
นัยนัยยะอ่านได้ทั้ง ไน และ ไน-ยะ
นัยน์ตานัยตา
น่าหน้าคำประกอบหน้ากริยา หมายความว่า ควร เช่น น่าจะทำอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้; ชวนให้, ทำให้อยากจะ, เช่น น่ากิน น่ารัก
นาฏกรรมนาฎกรรมใช้ ฏ ปฏัก
นาทีนาฑีนาฑี เป็นภาษาสันสกฤต พบบ้างในหนังสือเก่า ปัจจุบันพจนานุกรมให้สะกดแบบเดียวเท่านั้น
นานัปการนานับประการ
นานานา ๆไม่ใช่คำซ้ำ แต่เป็นคำมูลสองพยางค์ที่รับมาจากภาษาบาลี แปลว่า "ต่าง ๆ"
น้ำจัณฑ์น้ำจัน
น้ำมันก๊าดน้ำมันก๊าซ, -ก๊าส
น้ำแข็งไสน้ำแข็งใสหมายถึงการนำน้ำแข็งไปไสบนกบ จนได้เกล็ดน้ำแข็ง เป็นวิธีทำแบบดั้งเดิม
นิจศีลนิจสิน
นิตยสารนิตยาสาร
นิเทศนิเทศน์, นิเทส
นิมิตนิมิตร, นิรมิตร
นิเวศวิทยานิเวศน์วิทยา
เนรมิตเนรมิตร
เนืองนิตย์เนืองนิจ
แน่นหนาหนาแน่น- "แน่นหนา" ว่า มั่นคง เช่น ใส่กุญแจแน่นหนา มีหลักฐานมัดตัวแน่นหนา, แข็งแรง เช่น ประตูหน้าต่างแน่นหนา, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับ ปึกแผ่น เป็น เป็นปึกแผ่นแน่นหนา.
- "หนาแน่น" ว่า คับคั่ง, แออัด, เช่น กรุงเทพฯ มีประชากรหนาแน่นมาก.
โน้ตโน๊ต, โน้ท, โน๊ทอักษรต่ำ ไม่ใส่ไม้ตรี

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
บรรทัดบันทัด
บรรทุกบันทุก
บรรลุบันลุ
บรรเลงบันเลง
บรั่นดีบะหรั่นดี
บริสุทธิ์บริสุทธ, บริสุทธิ
บล็อกบล็อค, บล๊อกหลักการทับศัพท์
บ่วงบาศบ่วงบาศก์, บ่วงบาต, บ่วงบาท
บอระเพ็ดบรเพ็ด, บอระเพชร
บังสุกุลบังสกุล
บังเอิญบังเอิน
บัญญัติไตรยางศ์บัญญัติไตรยางค์เหมือน ไตรยางศ์
บัตรสนเท่ห์บัตรสนเท่
บันดาลบรรดาล
บันไดบรรได
บันเทิงบรรเทิง
บันลือบรรลือ
บางลำพูบางลำภู
บาดทะยักบาททะยัก, บาดทยัก
บาตรบาตเครื่องใช้อย่างหนึ่งของพระสงฆ์
บาทบงสุ์บาทบงส์อ่านว่า บาด-ทะ-บง
บาทหลวงบาดหลวง
บำเหน็จบำเน็จ
บิณฑบาตบิณฑบาตร, บิณฑบาท"บาต" ไม่ได้มาจากคำที่แปลว่า บาตร แต่รับมาจากคำภาษาบาลีว่า ปาต [ปา-ตะ] แปลว่า ตก, การตก
เช่น ปิณฺฑปาต = การตกของก้อนข้าว (บิณฑบาต), อุกฺกาปาต แปลว่า การตกของคบเพลิง (อุกกาบาต), อสนิปาต = การตกของสายฟ้า (อสุนีบาต)
บิดพลิ้วบิดพริ้ว
บุคคลบุคล
บุคลากรบุคคลากร
บุคลิกบุคคลิก, บุคลิค, บุคคลิคมาจากคำภาษาบาลีว่า ปุคฺคลิก [ปุก-คะ-ลิ-กะ] เมื่อรับมาใช้ในภาษาไทย สะกดด้วย ค ตัวเดียว แต่อ่านว่า บุก-คะ-ลิก
บุคลิกภาพบุคคลิกภาพ, บุคลิคภาพ, บุคคลิคภาพ
บุปผชาติบุปผาชาติ
บุษราคัมบุษราคำ, บุศ-
บูชายัญบูชายัน, บูชายันต์
บูรณปฏิสังขรณ์บูรณะปฏิสังขรณ์คำสมาส ไม่ต้องประวิสรรชนีย์ระหว่างคำ แต่ยังคงออกเสียง อะ
เบญจเพสเบญจเพศเพส มาจากคำว่า วีสะ แปลว่า 20; เบญจ แปลว่า 5 ดังนั้น เบญจเพส = 25
เบนซินเบ็นซิน, เบนซิล
เบรกเบรคศัพท์บัญญัติ หรือใช้คำว่า ห้ามล้อ

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ปฏิกิริยาปฏิกริยา
ปฏิสันถารปฏิสัณฐาน, ปฏิสันถาน
ปฏิทินปติทิน
ปฏิพัทธ์ประติพัทธ์
ปฏิสังขรณ์ปฏิสังขร
ปฐมนิเทศปฐมนิเทศก์, ปฐมนิเทศน์
ปณิธาน, ประณิธานปนิธาน, ประนิธานตั้งใจไว้
ปรนนิบัติปรณนิบัติ
ปรมาณูปรมณูปรม + อณู
ปรองดองปองดอง
ประกายพรึกประกายพฤกษ์
ประกาศนียบัตรประกาศณียบัตร
ประกาศิตประกาษิต
ประจัญประจัน• ประจัญ = ปะทะต่อสู้ (เช่น ประจัญบาน = รบอย่างตะลุมบอน), แผลงมาจากคำเขมรว่า "ผจัญ" (ผฺจาญ่)
• ประจัน = กั้นเป็นส่วนสัด (เช่น ฝาประจันห้อง = ฝากั้นห้อง), เผชิญ (เช่น ประจันหน้ากัน), ฯลฯ
ประจัญบานประจันบาน, ประจันบาล, ประจัญบาล
ประจันหน้าประจัญหน้า
ประจันห้องประจัญห้อง
ประจำการประจำการณ์
ประณตประนต(กริยา) น้อมไหว้
ประณมประนม(อาการนาม) การน้อมไหว้
ประณามประนาม
ประณีตปราณีต, ประนีต
ประดิดประดอยประดิษฐ์ประดอย
ประนีประนอมประณี-, ปรานี-, ปราณี-,
-ประณอม, -ปรานอม, -ปราณอม
ประมาณประมาน
ประเมินประเมิณ
ประโยชน์โพดผล[1]ประโยชน์โพธิผล,
ประโยชน์โภชผล,
ประโยชน์โภชน์ผล
ประสบการณ์ประสพการณ์• "ประสบ" เป็นคำกริยาแปลว่าพบหรือพบปะ
• ส่วน "ประสพ" เป็นคำนามมีความหมายว่าการเกิดผล
• ในภาษาไทยจึงใช้ "ประสบ" เพียงรูปเดียว เช่น ประสบความสำเร็จ ประสบการณ์ ประสบอุทกภัย ประสบโชค
ประสบผลสำเร็จ, ประสบความสำเร็จประสพผลสำเร็จ, ประสพความสำเร็จ
ประสูติประสูต, ประสูตร
ประสูติการประสูติกาลการคลอด เช่น มีพระประสูติการ
ประสูติกาลประสูติการเวลาคลอด เช่น พระประสูติกาลตก ณ วัน 4 ขึ้น 1 เดือน 6 ย่ำรุ่ง 2 นาฬิกา เศษสังขยา 5 บาท
ประหลาดปะหลาด, ปลาด
ประหัตประหารประหัดประหาร, ประหัตถ์ประหาร
ประหาณ, ปหานประหาร• ประหาณ, ปหาน = ละทิ้ง เช่น สมุจเฉทประหาณ (การตัดขาดและการละทิ้ง), ปหานกิเลส (ละทิ้งกิเลส)
• ประหาร = ตี ฟัน ทำลาย หรือ ฆ่า เช่น ประหารชีวิต
ประหาร, ปหารประหาณ, -หาน, ปะ-
ปรัมปราปรำปรา, ปะรำปะราอ่านว่า ปะ-รำ-ปะ-รา
ปรัศนีปรัศนีย์
ปรากฏปรากฎใช้ ฏ ปฏัก
ปราณีปรานี• ปราณี = ผู้มีลมปราณ หมายความว่า ผู้มีชีวิต หรือสิ่งมีชีวิต เช่น สัตว์ และคน
• ปรานี = เอ็นดูด้วยความสงสาร
ปรานีปราณี
ปรานีปราศรัยปราณีปราศัย
ปรารถนาปราถนาอ่านว่า "ปราด-ถะ-หนา"
ปราศจากปราศจาค
ปราศรัยปราศัย
ปล้นสะดมปล้นสดมภ์• สะดม = รมยาให้หลับ
• สดมภ์ = เสาหรือช่องตามแนวตั้ง
ปวารณาปวารนา
ปะทะประทะ
ปะแล่มปแล่ม, แปล่ม
ปักษินปักษิณ
ปาฏิหาริย์ปาฏิหาร, ปาฏิหารย์
ปาติโมกข์ปาฏิโมกข์
ปาริชาตปาริชาติชื่อบุคคลจำนวนมากยังใช้ ปาริชาติ อยู่
ปิกนิกปิคนิคคำทับศัพท์
ปีติยินดีปิติยินดีปีติ = ความปลาบปลื้มใจ, ความอิ่มใจ; ปิติ ไม่มีความหมาย
ปุโรหิตปุโลหิต
เปอร์เซ็นต์เปอร์เซนต์คำทับศัพท์
เป๋อเหลอเป๋อเล๋ออักษรต่ำ ไม่ใช้วรรณยุกต์จัตวา

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ผดุงผะดุง
ผรุสวาทผรุสวาส
ผลลัพธ์ผลลัพท์
ผล็อยผลอย
ผลัดเปลี่ยนผัดเปลี่ยน
ผลัดผ้าผัดผ้า
ผลัดเวรผัดเวร
ผลานิสงส์ผลานิสงฆ์
ผอบผะอบ
ผัดไทยผัดไท
ผัดผ่อนผลัดผ่อน
ผัดวันประกันพรุ่งผลัดวันประกันพรุ่ง
ผัดหนี้ผลัดหนี้
ผาสุกผาสุขมาจากคำบาลีว่า ผาสุก [ผา-สุ-กะ] แปลว่า ความสำราญ, ความสบาย (ไม่ได้มาจาก ผา + สุข); แต่ชื่อบุคคลและสถานที่จำนวนมากยังใช้ ผาสุข อยู่
ผีซ้ำด้ำพลอยผีซ้ำด้ามพลอยด้ำ เป็นภาษาเหนือ แปลว่า ผีเรือน
ผุดลุกผุดนั่งผลุดลุกผลุดนั่ง
ผูกพันผูกพันธ์
ผู้เยาว์ผู้เยา
เผชิญผเชิญ, ผะเชิญ
เผลอไผลเผอไผ
เผอเรอเผลอเรอ
เผอิญผเอิญ, ผะเอิญ
เผ่าพันธุ์เผ่าพัน
แผ่ซ่านแผ่ส้าน, แผ่ซ้าน
แผนการแผนการณ์
แผลงฤทธิ์แผงฤทธิ์
ไผทผไท, ผะไท

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฝรั่งเศสฝรั่งเศษ
ฝักฝ่ายฝักใฝ่, ฝักไฝ่พวก, ข้าง
ฝักใฝ่ฝักฝ่าย, ฝักไฝ่เอาใจใส่, ผูกพัน
ฝากครรภ์ฝากครร
ฝีดาษฝีดาดไข้ทรพิษ
ฝึกปรือฝึกปือ, ฝึกปลือ
ไฝใฝคำนอกกฎการใช้ไม้ม้วน

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
พงศ์พันธุ์พงพันธุ์, พงษ์พันธุ์
พจนานุกรมพจณานุกรมพจน + อนุกรม
ฯพณฯพณฯ, ฯพณ, พณอ่านว่า "พะ-นะ-ท่าน"
พยักพะยัก
พยักพเยิดพะยักพะเยิด, พยักเพยิด
พยัคฆ์พยัค, พยัฆเสือ
พยานพะยาน
พยาบาทพญาบาท, พยาบาตร
พยุงพะยุง
พเยียพะเยีย, เพยียพวงดอกไม้
พรรณนาพรรณาอ่านว่า พัน-นะ-นา
พรหมจรรย์พรมจรรย์
พระวงศ์พระวงค์รวมทั้ง เชื้อพระวงศ์
พราหมณ์พราห์มณ์, พรามณ์อ่านว่า พฺราม
พร่ำพลอดพร่ำพรอด
พฤศจิกายนพฤษจิกายน
พฤษภาคมพฤศภาคม
พลการพละการคำสมาส
พลศึกษาพละศึกษาคำสมาส
พละกำลังพลกำลัง
พลาสติกพลาสติค
พหูสูตพหูสูตร
พะแนงพแนง, แพนง
พะยอมพยอมชื่อต้นไม้ มีดอกสีขาว
พะยูนพยูน
พะวักพะวนพวักพวน
พังทลายพังทะลาย
พันทางพันธุ์ทางลูกผสมต่างสายพันธุ์
พันธกิจพันธะกิจคำสมาส
พันธสัญญาพันธะสัญญาคำสมาส
พัศดีพัสดี
พัสดุพัศดุ
พากย์พากษ์พากย์หนัง
พาณิชย์พาณิชย,พณิชย์
พาณิชพณิช
พานิชย์, พานิชย, พนิชย์
พานิช, พนิช
ใช้ ณ เสมอ รวมถึงรูปศัพท์เดิมก่อนแผลง ว เป็น พ เช่น วาณิชย์ วาณิชกะ วณิชย์ วณิชยา วาณิช วณิช
พาณิชย์ พาณิชย หรือ พณิชย์ แปลว่าการค้า พาณิชหรือพณิชหมายถึงพ่อค้า
ยกเว้นวิสามานยนามบางคำ เช่น ไทยวัฒนาพานิช, กรุงไทยพานิชประกันภัย, ศุภชัย พานิชภักดิ์วิจารณ์ พานิช และ ชิน โสภณพนิช
พานจะเป็นลมพาลจะเป็นลม
พาหุรัดพาหุรัต, พาหุรัตน์
พิณพาทย์พิณภาทย์
พิธีรีตองพิธีรีตรอง
พิบูลพิบูลย์
พิพิธภัณฑ์พิพิทธภัณฑ์
พิราบพิราปนกชนิดหนึ่ง
พิลาปพิราปคร่ำครวญ, ร้องไห้ เช่น รำพันพิลาป
พิศวงพิสวง
พิศวาสพิสวาส, พิสวาท
พิสดารพิศดาร
พิสมัยพิศมัย
พึมพำพึมพัม
พุดตานพุดตาลดอกไม้ชนิดหนึ่ง
พุทธชาดพุทธชาติดอกไม้ชนิดหนึ่ง
พู่กันภู่กัน
พู่ระหงภู่ระหง
เพชฌฆาตเพชรฆาต, เพ็ชรฆาต
เพชรเพ็ชร
เพศสัมพันธ์เพศสัมพันธุ์
เพนียดพเนียด, พะเนียด
เพริศพริ้งเพริดพริ้ง
เพิ่มพูนเพิ่มพูล
เพียบพร้อมเพรียบพร้อม
แพทยศาสตร์แพทย์ศาสตร์
โพชฌงค์โพชงค์
โพดำโพธิ์ดำ
โพแดงโพธิ์แดง
โพทะเลโพธิ์ทะเล
โพนทะนาโพนทนา
โพระดกโพรดก
โพสพโพศพ
ไพฑูรย์ไพทูรย์

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฟังก์ชันฟังก์ชั่นไม่มีไม้เอก
ฟั่นฝั้นเช่น ฟั่นเชือก ฟั่นเทียน
ฟันคุดฟันครุฑ, ฟันครุทคุด หมายถึง งอกงออยู่ภายในไม่โผล่ออกมาตามปรกติ ครุฑเป็นสัตว์ในตำนานอินเดีย
ฟาทอมฟาธอม, แฟทอม, แฟธอมหน่วยวัดระยะทาง
ฟิล์มฟิลม์, ฟลิม, ฟิมล์, ฟิม์ล
ฟิวส์ฟิว
ฟุตบอลฟุทบอล
ฟุลสแก๊ปฟูลสแกปหน้ากระดาษที่มีเส้นบรรทัด
เฟินเฟิร์นถ้านำไปเขียนคำทับศัพท์อาจอนุโลมใช้ เฟิร์น ได้
แฟชั่นแฟชันมีไม้เอก
ไฟแช็กไฟแชค, ไฟแช็ค

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ภคินีภคิณี
ภวังค์พวังศ์
ภัณฑารักษ์พันธารักษ์
ภาคทัณฑ์ภาคฑัณฑ์
ภาคภูมิภาคภูม
ภาพยนตร์ภาพยนต์
ภารกิจภาระกิจคำสมาส
ภาวการณ์ภาวะการณ์, ภาวะการคำสมาส
ภาววิสัยภาวะวิสัย"ภาววิสัย" ตรงกับภาษาอังกฤษว่า "objective" บางทีใช้ "ปรนัย" (ปะระไน), "ปรวิสัย" (ปะระวิสัย) หรือ "วัตถุวิสัย" หมายความว่า "ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่เกี่ยวกับความคิดหรือความรู้สึก"
ภุชงค์พุชงค์
ภูตผีภูติผีภูต แปลว่า ผี; ภูติ แปลว่า ความรุ่งเรือง
ภูมิใจภูมใจ
ภูมิลำเนาภูมลำเนาอ่านว่า พูม-ลำ-เนา หรือ พู-มิ-ลำ-เนา ก็ได้
เภตราเพตรา

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
มกุฎมกุฏใช้ ฎ ชฎา เช่น มกุฎราชกุมาร มกุฎราชกุมารี ยกเว้น มหามกุฏราชวิทยาลัย และ มกุฏกษัตริยาราม ที่ใช้ ฏ ปฏัก
มงกุฎมงกุฏใช้ ฎ ชฎา
มณฑปมนฑป, มณทปอ่านว่า มน-ดบ
มนเทียรมนเฑียร, มณเฑียร
มนุษยสัมพันธ์มนุษย์สัมพันธ์คำสมาส
มรณภาพมรณะภาพ
มฤตยูมฤตญู
มลทินมนทิน
มลังเมลืองมะลังมะเลือง
มหรรณพมหรรนพ, มหันนพ
มหรสพมหรศพอ่านว่า มะ-หอ-ระ-สบ
มหัศจรรย์มหรรศจรรย์
มหาหิงคุ์มหาหิงค์
มเหสักข์มเหศักดิ์
มเหสีมเหศรี, มเหศี, มเหษี, เมหสี
มไหศวรรย์มไหสวรรค์
ม่อห้อม, ม่อฮ่อม, หม้อห้อมหม้อฮ่อม
มะหะหมัดมหะหมัด, มะหะมัด
มัคคุเทศก์มัคคุเทศ, มัคคุเทศน์
มัคนายก, มรรคนายกมัคทายก, มรรคทายก(บาลี) มคฺค + นายก (สันสกฤต) มารฺค + นายก หมายถึง ผู้นำทาง ได้แก่ ผู้จัดการทางกุศล หรือผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด
มัณฑนศิลป์มันทนศิลป์, มันฑณศิลป์
มัธยัสถ์มัธยัสต์
มัศยา, มัตสยามัสยาปลา
มัสตาร์ดมัสตาด
มัสมั่นมัสหมั่นอ่านว่า มัด-สะ-หมั่น
มาตรการมาตราการระวังการใช้ในบริบท มาตรา-การ
มาตรฐานมาตราฐานระวังการใช้ในบริบท มาตรา-ฐาน
มานุษยวิทยามนุษยวิทยามานุษย = ที่เกี่ยวกับมนุษย์
ม่าเหมี่ยวมะเหมี่ยวด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่ง, ชมพู่ผลสีแดงเข้ม
มึงเมิง
มืดมนมืดมนต์, มืดมล
มุกตลกมุขตลกราชบัณฑิตยสถานสะกดว่า มุก ในขณะที่พจนานุกรมฉบับมติชนสะกดว่า มุข
แมงมุมแมลงมุม
แมลงดาแมงดาเฉพาะแมลง (มี 6 ขา) ส่วนแมงดาจะใช้กับแมงดาทะเล (มี 12 ขา)
แมลงภู่แมลงพู่, แมงภู่ทั้งชื่อแมลงและหอย
แมลงวันแมงวัน
แมลงสาบแมลงสาป, แมงสาบ, แมงสาป
ไมยราบไมยราพชื่อพืชชนิดหนึ่ง
ไมยราพณ์, มัยราพณ์ไมยราพตัวละครในรามเกียรติ์
ไมล์ไมร์, ไมค์หน่วยวัดระยะทาง

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ยศถาบรรดาศักดิ์ยศฐาบรรดาศักดิ์
ย่อมเยาย่อมเยาว์ราคาย่อมเยา
ยาเกร็ดยาเกล็ดหมายถึง ตำรา
ยานัตถุ์ยานัตถ์, ยานัดนัตถุ์ แปลว่า จมูก
ยีราฟจีราฟ
เยอรมนี, เยอรมันเยอรมันนี
เยาว์วัยเยาวัย
เยื่อใยเยื่อไยคำซ้อน เยื่อ + ใย
ใยแมงมุมไยแมงมุม
ไยใยหมายถึงไฉน, อะไร, ทำไม
ไยดีใยดี
ไยไพใยไพหมายถึงเยาะเย้ย, พูดให้อาย
โยธวาทิตโยธวาฑิต

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
รกชัฏรกชัฎใช้ ฏ ปฏัก
รณรงค์รนรงค์
รถยนต์รถยนตร์
รมณีย์รมนีย์, รมณี
รสชาติรสชาด
ร้องไห้ร้องให้
ระบบนิเวศระบบนิเวศน์
ระเบงเซ็งแซ่ระเบ็งเซ็งแซ่
ระเห็จรเห็จ, เรห็จ
รักษาการรักษาการณ์ปฏิบัติหน้าที่แทน เช่น รักษาการในตำแหน่ง...
รักษาการณ์รักษาการเฝ้าดูแลเหตุการณ์ เช่น ยามรักษาการณ์
รังเกียจรังเกลียด, รังเกียด
รังควานรังควาญ
รังสีรังษี, รังศียกเว้นชื่อเฉพาะ
รัชดาภิเษกรัชฎาภิเษกคำสนธิ รชต (เงิน) + อภิเษก (แต่งตั้ง); รัชฎาภิเษกเป็นรูปคำโบราณ
รัญจวนรัญจวญ, รัญจวณ
รัฐวิสาหกิจรัฐวิสาหะกิจ
รัศมีรัสมี, รัษมี
รากเหง้ารากเง่าเง่า หมายถึงโง่เง่า
ราชภัฏราชภัฎใช้ ฏ ปฏัก
ราชันราชันย์"ราชัน" หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน, "ราชันย์" หมายถึง เชื้อสายของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชวงศ์ราชวงค์รวมทั้ง พระราชวงศ์ หม่อมราชวงศ์
ราดหน้าลาดหน้า
ราพณาสูรราพนาสูร
ราศีราศรีรากศัพท์ต่างกัน ราศี มาจาก ราสิ, ศรี มาจาก สิริ
รำคาญรำคราญ, รำคาน
ริบบิ้นริ้บบิ้นออกเสียง ริบ โดยไม่มีรูปวรรณยุกต์
รื่นรมย์รื่นรมณ์
เรี่ยไรเรี่ยรายเรี่ยราย = เกลื่อนกลาด
แร็กเกตแร็กเก็ต
โรงธารคำนัลโรงธารกำนัลหมายถึง ท้องพระโรง
โรมันคาทอลิกโรมันคาธอลิค

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฤกษ์พานาทีฤกษ์ผานาทีสองคำที่สับสน คือ "ฤกษ์พานาที" กับ "เลขผานาที"
ฤทธิ์ฤทธ, ฤทธ์
ฤๅฤาใช้ลากข้างยาว
ฤๅษี, ฤษีฤาษีใช้ลากข้างยาว

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ลดาวัลย์ลัดดาวัลย์, ลดาวัณย์ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ยกเว้นชื่อเฉพาะ
ลมปราณลมปราน
ลมหวนลมหวล
ล็อกเกตล็อกเก็ต
ลองไนลองในชื่อจักจั่นขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง
ละครละคอน"ละคอน" เป็นคำไทยโบราณ ใช้เมื่อต้องการรักษาความดั้งเดิมไว้ เช่น สาขาศิลปะและการละคอน ดูคำอธิบายของราชบัณฑิตยสถานที่ ละครหรือละคอน
ละเมียดละไมลเมียดลไม
ละโมบลโมบ, ละโมภ
ละเอียดลออลเอียดลออ, ละเอียดละออ
ลักเพศลักเพท, ลักเพส
ลังถึงรังถึง
ลาดตระเวนลาดตระเวณมักสับสนกับ "บริเวณ"
ลาดยางราดยางเรียกถนนที่ปูผิวจราจรด้วยยางมะตอยผสมกับหินหรือทรายเป็นต้นว่า "ถนนลาดยาง"
ลายเซ็นลายเซ็นต์
ลาวัณย์ลาวัลย์หมายถึง ความงาม ความน่ารัก
ลำไยลำใยคำนอกกฎการใช้ไม้ม้วน
ลำไส้ลำใส้คำนอกกฎการใช้ไม้ม้วน
ลิงก์ลิงค์ลิงก์ = คำภาษาอังกฤษ link; ลิงค์ = เครื่องหมายเพศ, ประเภทคำในไวยากรณ์ที่บอกให้รู้ว่าคำนั้น เป็นเพศอะไร
ลิดรอนริดรอน
ลิปสติกลิปสติค
ลิฟต์ลิปต์, ลิฟ, ลิฟท์มาจากคำภาษาอังกฤษ lift
ลือชาฦๅชาฦ ฦๅ ไม่มีที่ใช้ในปัจจุบัน
ลุกลี้ลุกลนลุกลี้ลุกรน
ลูกเกดลูกเกตุ
ลูกนิมิตลูกนิมิตร
ลูกบาศก์ลูกบาศ
เล่นพิเรนทร์เล่นพิเรนท์
เลยเรย
เล่ห์กระเท่ห์เล่กระเท่
เลือกสรรเลือกสรรค์
เลือดกบปากเลือดกลบปาก
โล่โล่ห์มิได้แผลงมาจาก "โลหะ"
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัฒน์
ไล่เลียงไล่เรียง, ไร่เรียง, ไร่เลียงซักไซ้ ไต่ถาม มักใช้ว่า ซักไซ้ไล่เลียง

ปัจจุบันคำที่ขึ้นต้นด้วย ฦ ฦๅ ไม่นิยมใช้

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
วงศ์วงษ์วงค์วงษ์ เป็นการสะกดแบบโบราณ
วงศ์วานวงษ์วานเช่น ชื่อถนน งามวงศ์วาน
วัคซีนวักซีน
วัณโรควันโรค, วรรณโรค
วันทยหัตถ์วันทยาหัตถ์
วันทยาวุธวันทยวุธ
วางก้ามวางกล้ามวางโต
วาทกรรมวาทะกรรมสมาสแล้วไม่มีสระอะ
วาทิตวาฑิตวาทิต หมายความว่า ดนตรี หรือผู้บรรเลงดนตรี
วายชนม์วายชน
วารดิถีวาระดิถีสมาสแล้วไม่มีสระอะ
วาฬวาล
วิ่งเปี้ยววิ่งเปรี้ยว
วิ่งผลัดวิ่งผัด
วิตถารวิตถาน, วิตถาล
วิตามินวิตตามิน, วิตะมิน
วินาทีวินาฑี
วินาศกรรมวินาศะกรรม
วิหารคดวิหารคต
วิญญาณวิญญาน
เวทเวทย์"เวท" เป็นคำนาม แปลว่า ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์สำหรับเสกเป่า ฯลฯ
"เวทย์" เป็นคำวิเศษณ์ แปลว่า ควรรู้
เวทมนตร์เวทย์มนตร์, เวทมนต์, เวทย์มนต์
เวนคืนเวรคืน
เวียดนามเวียตนาม
ไวยากรณ์ไวยกรณ์

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ศรัทธา, สัทธาศัทธานิยมใช้ "ศรัทธา" มากกว่า
ศศิธรสสิธร, ศศิทรศศิธร หมายถึง ดวงจันทร์
ศักย์ศักดิ์ศักย์ ที่หมายถึง ศักย์ไฟฟ้า ศักยภาพ ใช้ ย แต่ ศักดิ์ที่กล่าวถึง ศักดินา ใช้ ด
ศัตรูสัตรู, ศตรู
ศัพท์ศัพย์
-ศาสตรดุษฎีบัณฑิต-ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตปริญญาเอก เช่น รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต
-ศาสตรบัณฑิต-ศาสตร์บัณฑิตปริญญาตรี เช่น เศรษฐศาสตรบัณฑิต
-ศาสตรมหาบัณฑิต-ศาสตร์มหาบัณฑิตปริญญาโท เช่น นิติศาสตรมหาบัณฑิต
ศิลป์, ศิลปะศิลปใช้เป็นศัพท์โดด
ศิลปกรรมศิลปะกรรมคำสมาส
ศิลปวัฒนธรรมศิลปะวัฒนธรรมหากต้องการแยกคำควรใช้ "ศิลปะและวัฒนธรรม"
ศิลปวัตถุศิลปะวัตถุคำสมาส
ศีรษะศรีษะ
ศึกษานิเทศก์ศึกษานิเทศ, ศึกษานิเทศน์
เศรษฐินีเศรษฐีนี
โศกนาฏกรรมโศกะนาฏกรรม, โศกนาฎกรรมใช้ ฏ ปฏัก
โศกศัลย์โสกศัลย์, โศกสันต์
โศกเศร้าโสกเศร้า
ไศลไสล, ศไลหมายถึง เขาหิน

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
สกัดสะกัด
สกาวสะกาว
สแกนแสกน
สดับสะดับ
สถานการณ์สถานการ, สถานะการณ์
สถิตสถิตย์ยกเว้น "สถิตยศาสตร์"
สนนราคาสงวนราคา"สนนราคา" หมายถึง ราคา ; "สงวนราคา" หมายถึง รักษาระดับราคาไว้
สบงสะบง
สบายสะบาย
สบู่สะบู่
สไบสะไบ, ไสบ
สเปนเสปน, สเปญ
สภาวการณ์, สภาพการณ์สภาวะการณ์
สมดุลสมดุลย์
สมเพชสมเพท, สมเพศ, สมเพส
สรรเพชญสรรเพชร
สรรแสร้งสรรค์แสร้ง
สรรหาสรรค์หาสรรค์ หมายถึง สร้าง, ทำให้เกิดขึ้น
สรวงสวรรค์สวงสวรรค์
สร้างสรรค์สร้างสรร
สวรรคตสวรรณคต, สวรรค์คต
สอบเชาวน์สอบเชาว์
สะกดสกด
สะกิดสกิด
สะคราญสคราญ
สะดวกสดวก
สะพรึงกลัวสะพึงกลัว
สะพานสพาน
สะเหล่อสะเหร่อ, เสร่อ, เสล่อ
สะอาดสอาด
สักการบูชาสักการะบูชาคำสมาส
สังเกตสังเกตุ
สังเขปสังเขบ
สังวรสังวรณ์
สังวาลสังวาลย์ยกเว้นชื่อเฉพาะ "สังวาลย์"
สังสรรค์สังสรร
สัญลักษณ์สัญลักษ์, สัญญลักษณ์
สัณฐานสันฐาน, สันฐาณ, สัณฐาณรูปพรรณสัณฐาน
สันโดษสัญโดษ
สันนิษฐานสันนิฐาน, -ฐาณ
สับปลับสัปลับ
สับปะรดสัปรด, สัปปะรด, สับปะรสมิได้แผลงมาจาก สรรพรส
สัปเหร่อสัพเหร่อ, สัปปะเหร่อ
สัพยอกสรรพยอก
สัมภาษณ์สัมภาษ, สัมภาสน์
สัมมนาสัมนา, สำมะนา
สาทรสาธรชื่อถนนสายหนึ่ง และเขตการปกครองในกรุงเทพมหานคร
สาธารณชนสาธารณะชนคำสมาส ระวังการใช้ในบริบท สาธารณะ-ชน
สาธารณประโยชน์สาธารณะประโยชน์คำสมาส
สาธารณสถานสาธารณะสถานคำสมาส
สาธารณสมบัติสาธารณะสมบัติคำสมาส
สาธารณสุขสาธารณะสุขคำสมาส
สาบสูญสาปสูญ
สาบานสาบาญ
สาปแช่งสาบแช่ง
สาปสรรสาบสรร
สามเส้าสามเศร้าเส้า หมายถึง ไม้หลักหรือวัตถุที่ตั้งหรือปักเป็นสามมุมสำหรับรองรับ
สายสิญจน์สายสิญจ์
สารประโยชน์สาระประโยชน์คำสมาส
สารภีสาระพี, สารพีชื่อไม้ต้นชนิดหนึ่ง ดอกสีขาวกลิ่นหอม, มิได้หมายถึง เครื่องครัว
สาระสำคัญสารสำคัญมิใช่คำสมาส
สารัตถประโยชน์สารัตถะประโยชน์คำสมาส
สารัตถะสำคัญสารัตถสำคัญมิใช่คำสมาส
สำอางสำอางค์เครื่องสำอาง
สิงโตสิงห์โตหรือใช้เพียงคำว่า สิงห์
สิทธิ, สิทธิ์สิทธ, สิทธ์
สีสวาดสีสวาท, สีสวาสแมวสีสวาด
สีสันสีสรร, สีสรรค์
สุกียากี้สุกี้ยากี้สามารถเรียกสั้น ๆ ว่า สุกี้
สุขศุขศุข พบบ้างในหนังสือเก่า
สุคติสุขคติ
สุญญากาศสูญญากาศใช้สระ "อุ"
สูจิบัตรสูติบัตรใบแจ้งกำหนดการ
สูติบัตรสูจิบัตรเอกสารหลักฐานการเกิด
เสกสรรเสกสรรค์
เสบียงสะเบียง, สเบียง
เสพเสพย์ปัจจุบันพจนานุกรมให้สะกดแบบเดียวเท่านั้น เช่น เสพสุรา เสพยา เสพเมถุน เสพสม เสพติด (สารเสพติด สิ่งเสพติด ยาเสพติด)
เสิร์ฟเสริฟ, เสริฟ์มาจาก serve ไม่ใช่อักษรควบกล้ำ
เสลดสเลดอ่านว่า "สะ-เหฺลด" มาจากสันสกฤษ "เศฺลษฺม" ตรงกับบาลีว่า "เสมห" แปลว่า phlegm
เสื้อกาวน์เสื้อกาว, เสื้อกาวด์มาจาก gown
เสื้อเชิ้ตเสื้อเชิ๊ต
แสตมป์สแตมป์คำที่ปรากฏในพจนานุกรมไทย
โสฬสโสรสอ่านว่า "โส-ลด"
ไส้ใส้

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
หกคะเมนหกคเมน, หกคะเมร
หงส์หงษ์
หน็อยแน่หนอยแน่
หนาแน่นแน่นหนา- "หนาแน่น" ว่า คับคั่ง, แออัด, เช่น กรุงเทพฯ มีประชากรหนาแน่นมาก.
- "แน่นหนา" ว่า มั่นคง เช่น ใส่กุญแจแน่นหนา มีหลักฐานมัดตัวแน่นหนา, แข็งแรง เช่น ประตูหน้าต่างแน่นหนา, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับ ปึกแผ่น เป็น เป็นปึกแผ่นแน่นหนา.
หน้าปัดนาฬิกาหน้าปัทม์นาฬิกา
หม้อห้อม, ม่อห้อม,ม่อฮ่อมหม้อฮ่อม
หมาในหมาไน
หมามุ่ย, หมามุ้ยหมาหมุ้ย
หมูหย็องหมูหยองของกินทำด้วยหมูเนื้อแดงปรุงรส ต้มเคี่ยวให้เปื่อยจนงวด นำไปผัดจนแห้ง ขยี้ให้เป็นฝอย, รวมถึงที่ทำจากวัตถุดิบอื่นด้วย เช่น ไก่หย็อง ฯลฯ (ใส่ไม้ไต่คู้เพราะออกเสียงสั้น)
หยากไย่, หยักไย่หยากใย่, หยักใย่
หย่าร้างอย่าร้าง
หยิบหย่งหยิบย่ง, หยิบโย่ง
ห่วงใยห่วงไยคำที่ใช้ไม้ม้วน
หัวมังกุท้ายมังกรหัวมงกุฎท้ายมังกร(สำนวน) ไม่เข้ากัน ไม่กลมกลืนกัน (มังกุคือเรือที่มีกระดูกงูใหญ่)
หัวหน่าวหัวเหน่า
เหม็นสาบเหม็นสาป
เหล็กในเหล็กไนให้จำว่า เหล็กอยู่ข้างใน
เหลือบ่ากว่าแรงเหนือบ่ากว่าแรง(สำนวน) เกินความสามารถ
เหินเหิร
แหลกลาญแหลกราญ, แหลกราน
โหยหวนโหยหวล
โหระพาโหรพา, โหระภา
ใหลตายไหลตายใหล หมายถึงหลับใหล (ดู ราชบัณฑิตยสถาน)
ไหมมั๊ย, ไม๊อักษรต่ำเติมไม้ตรีไม่ได้ อาจอนุโลมใช้ มั้ย ตามเสียงพูด แผลงมาจาก "หรือไม่"
ไหหลำใหหลำทับศัพท์จากภาษาจีน

ปัจจุบันไม่มีคำที่ขึ้นต้นด้วย "ฬ" คำโบราณที่ขึ้นต้นด้วย "ฬ" หันไปใช้ "ล" แทน เช่น "ฬา" ก็ใช้เป็น "ลา", "ฬ่อ" ก็ใช้เป็น "ล่อ" เป็นต้น

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
องคชาตองคชาติ
องคุลิมาลองคุลีมาล, องคุลีมาร, องคุลิมารองคุลี (นิ้วมือ) + มาล (สร้อยคอ, สาย หรือ แถว) = องคุลิมาล (สร้อยคอที่ทำจากนิ้วมือ) โดยที่ ลี ใน องคุลี ลดเป็น ลิ เสียงสั้นตามหลักการสมาส
อธิษฐาน, อธิฏฐานอธิฐาน, -ฐาณ
อนาถอนาจ
อนาทรอนาธร
อนุกาชาดอนุกาชาติ
อนุญาตอนุญาติญาติ เขียนมีสระ อิ
อนุมัติอนุมัต
อนุรักษนิยมอนุรักษ์นิยมคำสมาส
อนุสาวรีย์อนุเสาวรีย์, อณุสาวรีย์
อเนกเอนกมาจาก อน+เอก ตัวอย่างเช่น อเนกประสงค์ อเนกประการ อเนกอนันต์ เว้นแต่วิสามานยนามเช่น เอนก เหล่าธรรมทัศน์ เอนก นาวิกมูล
อเนจอนาถอเนถอนาถ
อภิรมย์อภิรมณ์
อภิเษกอภิเสก
อมต, อมตะอัมตะ, อำมตะ
อมรินทร์อัมรินทร์ยกเว้นชื่อเฉพาะ "อัมรินทร์"
อมฤต, อำมฤตอัมฤต
อริยเมตไตรยอริยเมตตรัย, อริยเมตไตร
อริยสัจอริยสัจจ์
อลักเอลื่ออะหลักอะเหลื่อ
อลังการอลังการ์อ่านว่า อะ-ลัง-กาน
อวสานอวสาณ, อวสานต์
อสงไขยอสงขัย
อหังการ์อหังการอ่านว่า อะ-หัง-กา
อหิวาตกโรคอะหิวาตกโรค
ออฟฟิศอ็อฟ-, -ฟิซ, -ฟิส, -ฟิตคำที่ปรากฏในพจนานุกรมไทย หรือใช้คำว่า สำนักงาน, ที่ทำการ
อะลุ่มอล่วย, อะลุ้มอล่วยอะลุ่มอะล่วย, อลุ่มอล่วย
อะฟลาทอกซินอัลฟาทอกซินทับศัพท์จาก aflatoxin
อะไหล่อะหลั่ย
อักขรวิธีอักขระวิธีสมาสแล้วตัดสระอะ
อักษรอักศร, อักสร
อัญชันอัญชัญ
อัฒจันทร์อัธจันทร์
อัตคัดอัตคัต
อัตนัยอัตตะนัย"อัตนัย" ตรงกับภาษาอังกฤษว่า "subjective" บางทีใช้ "อัตวิสัย" หรือ "จิตวิสัย" หมายความว่า "ที่มีอยู่ในจิต, ที่เกี่ยวกับจิต; ที่จิตคิดขึ้นเองโดยไม่อาศัยวัตถุภายนอก"
อัธยาศัยอัทยาศัย, อัธยาษัย
อัมพาตอัมพาส
อากาศอากาส
อาฆาตมาดร้ายอาฆาตมาตร้าย
อาเจียนอาเจียร
อานิสงส์อานิสงฆ์
อาเพศอาเพส, อาเภส
อายัดอายัติ, อายัต
อารมณ์อารมย์
อาวรณ์อาวร
อาสน์สงฆ์อาสสงฆ์
อำนาจบาตรใหญ่อำนาจบาทใหญ่
อำมหิตอัมหิต
อินทรธนูอินธนู, อินทร์ธนู
อินทรี (นกอินทรี, ปลาอินทรี)อินทรีย์ (นกอินทรีย์, ปลาอินทรีย์)
อินทรียวัตถุอินทรีวัตถุ, อินทรีย์วัตถุ
อินฟราเรดอินฟาเรด, อินฟาร์เรดทับศัพท์จาก infrared
อิริยาบถอิริยาบท
อิสรภาพอิสระภาพคำสมาส
อิสรเสรีอิสระเสรีคำสมาส
อีเมลอีเมล์ทับศัพท์จาก e-mail
อีสานอิสาน, -สาณ
อุกกาบาตอุกาบาต
อุกฤษฏ์อุกฤติ
อุดมการณ์อุดมการ
อุทธรณ์อุธรณ์
อุทาหรณ์อุธาหรณ์, อุทาหร
อุบาทว์อุบาท
อุปการคุณอุปการะคุณคำสมาส
อุปถัมภ์อุปถัมธ์, อุปถัมน์
อุปโลกน์อุปโลก
อุปัชฌาย์อุปัชฌา, อุปัชชา
อุปาทานอุปทาน- อุปาทาน = การยึดมั่นถือมั่น, การนึกเอาเอง เช่น อุปาทานหมู่
อุปทาน (เศรษฐศาสตร์) = สินค้าหรือบริการที่พร้อมจะขายในตลาดเพื่อตอบสนองความต้องการซื้อ
อุโมงค์อุโมง
อุสุภราชอุศุภราชแปลว่า พญาวัว (อุสุภ แปลว่า วัว) เป็นชื่อโคทรงของพระอิศวร ในสมัยที่ยังไม่มีพจนานุกรมของราชการเขียนคละกันไปทั้ง "อุสุภราช" และ "อุศุภราช" (เช่น "อุศุภราชเป็นโคนา ท่านใช้")
เอกเขนกเอกขเนก
เอกฉันท์เอกฉัน, เอกะฉันท์
เอ็นดอร์ฟินเอ็นโดรฟินทับศัพท์จาก endorphine
โอกาสโอกาศ
ไอศกรีมไอศครีม, ไอติม

คำที่เขียนถูกมักเขียนผิดเป็นหมายเหตุ
ฮ่อยจ๊อหอยจ๊อ, ห้อยจ๊อ, -จ้อ
เฮโลสาระพา, เฮละโลสาระพาเฮโลโหระพา, เฮละโลโหระพา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น